เลี้ยงบอลง่ายๆในบ้าน

ชวนคุณพ่อ คุณแม่ ทำสนามฟุตบอลให้ลูกในบ้านกันค่ะ อีกกิจกรรมดีๆ ที่ทำร่วมกันได้ทั้งครอบครัวค่ะ

joker123

อุปกรณ์

สีชอร์ก หรือ เทปกาว สำหรับทำเส้น
ลูกฟุตบอล
วิธีทำ

ออกแบบสนามฟุตบอล ให้มีช่องสำหรับเลี้ยงลูกบอลในช่องว่าง งานนี้อาจจะชวนลูกมาช่วยออกแบบได้ว่าอยากให้เป็นรูปร่างแบบไหน เวลาเล่นเด็กๆ จะได้สนุกยิ่งขึ้น
ลงมือวาดพื้นตามแบบที่ช่วยกันออกแบบบนพื้นบ้าน หรือพื้นที่ที่เตรียมไว้
กำหนดกติกาการเล่นร่วมกัน โดยให้เลี้ยงบอลไปตามช่องว่าง โดยห้ามออกจากเส้น อาจแบ่งกันเป็น 2 ทีม สลับกันเล่นก็ได้ โดยจับเวลาการเล่น ทีมไหนเสร็จเร็วกว่าทีมนั้นชนะ หรือหากคนน้อยก็เพียงให้เลี้ยงบอลตามช่องว่างจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งก็ได้

สล็อต

การให้เด็กๆ เข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนออกแบบนั้น ทำให้เด็กๆ ได้เรียนรู้การเข้ามามีส่วนร่วม การยอมรับและเคารพผู้อื่น นอกจากนั้นการให้เด็กๆ ได้เลี้ยงบอลไปตามช่องว่างนั้นช่วยเพิ่มสมาธิให้กับเด็กๆ พร้อมทั้งสร้างความมุ่งมั่นในใจเด็กๆ ที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย หลายครั้งอาจเลี้ยงบอลไปได้ครึ่งทางแล้วแต่กลับไปทับเส้นจนต้องกลับมาเริ่มต้นใหม่ ทำให้เขายอมรับความผิดพลาดและกล้าที่จะเริ่มต้นใหม่ได้

อีกกิจกรรมที่สร้างความแข็งแรงทางด้านร่างกายด้วยเช่นกัน ทั้งการทรงตัว ความคล่องแคล่วในการเลี้ยงบอลไม่ให้ออกนอกเส้นหรือทับเส้น ที่สำคัญคือใช้พื้นที่ในบ้านไม่มากนัก แต่กลับสร้างความสนุกกันได้ทุกคน ลองไปปรับใช้กันดูนะคะ

ช่วงการระบาดใหญ่ของโคโรนาไวรัส หรือ ไวรัสโควิด19 แม้จะยังไม่สามารถวัดได้ว่ามีผลกระทบต่อเด็กๆ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตอย่างไร โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญหน้ากับความหวาดกลัว จนต้องปรับตัวหลายอย่าง เช่น การปิดเทอมที่ยาวนานกว่าปกติ ประสบการณ์ที่เด็กๆ ต้องเจอในช่วงนี้ก็จะมีความหลากหลายมาก บางคนอาจจะเป็นช่วงเวลาที่ปลอดภัยและสนุกสนาน แต่คนอื่นๆ อาจจะน่าหวาดกลัว ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครองต้องหันมามอง เพราะลูกต้องการความรักและความใส่ใจมากที่สุดเมื่อต้องอยู่ในภาวะวิกฤติเช่นนี้

สล็อตออนไลน์

สิ่งหนึ่งที่อาจจะทำให้ลูกๆ ได้ผ่อนคลายก็คือ ความใกล้ชิดที่มีให้ลูกได้ โดยอาจจะแบ่งเป็นตารางเวลาสำหรับการเรียนรู้ การทำกิจกรรมผ่อนคลาย พูดคุยกัน หรือการเล่น ซึ่งพ่อแม่จำเป็นต้องสละเวลามาร่วมเล่นกับลูกด้วย

เพราะการเล่นที่ได้เรียนรู้ทั้งกายและใจนั้น ลูกจะสัมผัสได้ง่ายเมื่อมีพ่อแม่อยู่ใกล้ๆ

แม่ดาว คุณดวงดาว อริยชัยสกุล คุณแม่ลูกสอง โดย “น้องเดียร์” ลูกสาวคนโตอายุ 17 ปีกำลังอยู่ในช่วงเลือกทางเดินให้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ขณะที่ “น้องติวเตอร์” ลูกชายคนเล็กอายุ 10 ขวบ ซึ่งเป็นคนที่คุณแม่ต้องคอยหาวิธีการ เลี้ยงดูที่เหมาะสมมารับมืออยู่ตลอด

“ช่วงโควิดติดเกมจนต้องดุ” แม่ดาวเริ่มเล่า ก่อนจะเสริมว่า ช่วงที่มีการล็อกดาวน์ประเทศทำให้ต้องอยู่แต่บ้านนั้น ลูกชายจะติดเกมมาก ตนเองไม่ได้ห้ามเรื่องเล่นเกมเพียงแต่ต้องมีความพอเหมาะพอดีทั้งในเรื่องของการแบ่งเวลาและพฤติกรรมที่เริ่มเปลี่ยนไป เช่น พูดคำหยาบ ขาดความรับผิดชอบ ฯลฯ

jumboslot

Active Play คือกิจกรรมการเล่นใดๆ ที่เด็กเป็นผู้ร่วมเล่นด้วยตนเอง ทำให้เด็กได้รับความสนุกสนาน เป็นการเล่นที่ไม่มีการกำหนดรูปแบบกติกาที่เป็นทางการ (Unorganized/ Unstructured) และอยู่นอกเหนือชั่วโมงพลศึกษา ทั้งยังหมายถึงการละเล่นพื้นบ้าน เช่น วิ่งเปี้ยว ม้าเขย่ง ม้าก้านกล้วย ได้ด้วย อาจฟังดูเป็นนิยามใหม่ ทว่าที่จริงเป็นพฤติกรรมโดยธรรมชาติของเด็กอยู่แล้วที่ชอบเล่น

การออกมาเล่น เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางกาย (Physical Activities หรือ PA) อันหมายถึง การเคลื่อนไหวโดยใช้กล้ามเนื้อโครงสร้างและทำให้มีการใช้พลังงานของร่างกาย สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ

ระดับเบา : คือระดับที่มีการเคลื่อนไหวน้อยมาก เช่น การยืน การนั่ง

ระดับปานกลาง : คือการเคลื่อนไหวออกแรงที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ มีความหนักและเหนื่อยในระดับเดียวกับการเดินเร็ว ขี่จักรยาน การทำงานบ้าน ชีพจรเต้น 120-150 ครั้ง ระหว่างที่เล่นยังสามารถพูดเป็นประโยคได้ และมีเหงื่อซึมๆ

ระดับหนัก : คือการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการทำซ้ำและต่อเนื่อง โดยใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น การวิ่ง เดินขึ้นบันได การออกกำลัง มีระดับชีพจร 150 ครั้งขึ้นไป จนทำให้หอบเหนื่อย และพูดเป็นประโยคไม่ได้

slot

การออกมาเล่น Active Play ที่ถือว่าได้ประโยชน์สูงและส่งผลดีต่อสุขภาพ คือการมีกิจกรรมทางกายในระดับปานกลาง-หนัก

ทำไมต้องชวนเด็กออกมาเล่น Active Play

แม้ธรรมชาติของเด็กจะชอบเล่น แต่จากการสำรวจพบว่า เด็กรุ่นใหม่กำลังขาดกิจกรรมทางกายอย่างน่าเป็นห่วง โดยเฉพาะในเขตเมือง ปัจจุบันเด็กไทยใช้เวลาอยู่หน้าจอ เฉลี่ยวันละ 3.1 ชั่วโมง/วัน แถมยังมีภาวะเฉื่อยและเนือยนิ่งมากขึ้น (Sedentary) ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ และขาดทักษะในการเข้าสังคม โดยผลสำรวจการมีกิจกรรมทางกายระดับประเทศ โดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เปรียบเทียบปี พ.ศ.2555 และ 2557 พบว่า กลุ่มเด็กไทยมีกิจกรรมทางกายลดลงจากร้อยละ 67.6 ในปี 2555 เป็นร้อยละ 63.2 ในปี 2557

เมื่อศึกษาในรายละเอียดจะพบว่า กลุ่มวัยรุ่น (ร้อยละ45) และกลุ่มเด็ก (ร้อยละ 36) มีพฤติกรรมอยู่หน้าจอ (Screen Time) มากกว่ากลุ่มอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด โดยร้อยละ 44.9ของกลุ่มเด็กและเยาวชนใช้เวลาอยู่หน้าจอนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของสัดส่วนผู้ที่มีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุง ในระยะเวลา 2 ทศวรรษที่ผ่านมา คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า และภาวะอ้วนเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กวัยเรียน

Back To Top